TOP

Sitemap

Sitemap Descriptions

เกี่ยวกับ สพธอ.

OUR SERVICES

บริการของเรา

กฎหมายดิจิทัล

กฎหมายดิจิทัล

เสริมทักษะคนไทยอย่างรู้เท่าทัน เพิ่มโอกาสใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ พัฒนาไปด้วยกันอย่างยั่งยืน

สถาบัน ADTE (เอดเต้) ACADEMY OF DIGITAL TRANSFORMATION BY ETDA

KNOWLEDGE

SHARING

คลังความรู้

ETDA บูสต์เอเนอร์จี ชาวออฟฟิศ! AI ตัวช่วยทำงาน ใช่แค่ใช้ได้ แต่ต้องใช้เป็น

เทรนด์ปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI ไม่ได้เป็นเพียงแค่กระแสทอล์คออฟเดอะทาวน์เท่านั้น แต่วันนี้ AI ได้ข้ามเส้นแบ่งการทำงาน จากเดิมที่จำกัดแค่ ‘มนุษย์’ ก็ได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการทำงานในฐานะ ‘ผู้ช่วย’ แล้ว และดูเหมือนว่าคนทำงานก็พร้อมยอมรับ ผู้ช่วยคนนี้อย่างสนิทใจ และแทบจะขาดผู้ช่วยคนนี้ไม่ได้ด้วย เพราะจากผลสำรวจของ Salesforce ที่สำรวจพนักงานในประเทศไทยเกี่ยวกับการใช้ AI กับการทำงาน พบว่า กว่า 90% ของผู้ตอบแบบสอบถาม เคยใช้ AI มาช่วยทำงานในกลุ่มงานทั่วไป

‘e-Tax Invoice’ ทางเลือกนำส่งภาษียุคใหม่ เพื่อ SMEs ไทย ที่ไม่ได้ทำยากอย่างที่คิด

ปัจจุบันการยื่นภาษีสะดวกและง่ายมากขึ้น เพราะเทคโนโลยีดิจิทัลได้เข้ามาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ กระบวนการยื่นภาษี ไม่ว่าจะเป็นการใช้เทคโนโลยีพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัล (Digital ID) ที่แค่คลิกเดียวก็สามารถยืนยันตัวตนและเชื่อมข้อมูลรายได้-รายจ่ายมาให้โดยไม่ต้องเสียเวลาหาเอกสาร

ปฏิทินกิจกรรม

EVENT CALENDAR

ETDA

NEWS

15 ก.ค. 67

เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2567 ศูนย์ AI Governance Clinic: AIGC by โดย คุณธิติกร ตระกูลศิริศักดิ์ ผู้เชี่ยวชาญประจำศูนย์และทีม AIGC ได้รับรับเกียรติจากบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด หรือ SCG เพื่อไปให้ความรู้เรื่องธรรมาภิบาล AI สำหรับทีม SCG the Trainer ซึ่งความร่วมมือในการสร้าง AI Governance ครั้งนี้ จัดขึ้นหลังจากที่หน่วยงาน

15 ก.ค. 67

ศูนย์ AI Governance Center: AIGC โดยผู้เชี่ยวชาญและทีมงานประจำศูนย์ AIGC ได้รับการติดต่อขอคำปรึกษาจากบริษัทไทยประกันชีวิต หรือ TLI เรื่อง "แนวทางการประยุกต์ใช้ AI อย่างมีธรรมาภิบาล (AI Governance Guideline) โดยทาง TLI มีแผนจะจัดทำแนวปฏิบัติเรื่องการนำ AI มาใช้ในองค์กร ในการนี้เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการนำ AI มาประยุกต์ใช้งาน รวมถึงการจัดการความเสี่ยงด้านต่าง ๆ เมื่อนำ AI เข้ามาใช้ในองค์กร ศูนย์ AIGC จึง

15 ก.ค. 67

สัมมนาเผยแพร่ความรู้และผลการศึกษา หัวข้อ "ลายมือชื่อดิจิทัล" ครั้งที่ 2 และครั้งที่ 3

ศัพท์ความรู้

คำที่ถูกค้นหามากที่สุด

  • e-Commerce

    e-Commerce (Electronic Commerce) คือ อีคอมเมิร์ซ, พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นการทำธุรกรรมซื้อขาย หรือแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการบนอินเทอร์เน็ต โดยใช้เว็บไซต์หรือแอปพลิเคชันเป็นสื่อในการนำเสนอสินค้าและบริการต่าง ๆ รวมถึงการติดต่อกันระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ทำให้ผู้เข้าใช้บริการจากทุกที่ทุกประเทศ หรือทุกมุมโลกสามารถเข้าถึงร้านค้าได้ง่ายและตลอด 24 ชั่วโมง [1]   e-Commerce เป็นส่วนหนึ่งของ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transaction) ที่ขอบเขตกว้างกว่า โดยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ธุรกรรมทางออนไลน์ หมายถึง กิจกรรมใด ๆ ที่กระทำขึ้นระหว่างหน่วยธุรกิจ บุคคล รัฐ ตลอดจนองค์กรเอกชนหรือองค์กรของรัฐใด ๆ เพื่อวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ การค้า และการติดต่องานราชการ โดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน ยกตัวอย่าง เช่น การซื้อ-ขายสินค้าผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต, การสมัครสมาชิกผ่านระบบออนไลน์, การตกลงทำสัญญาซื้อ-ขาย หรือสัญญาตกลงตามข้อบังคับต่าง ๆ บนเครือข่าย, การโอนเงินด้วยระบบอัตโนมัติผ่านระบบเครือข่าย, การสื่อสารรับ-ส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้วยเครือข่ายการสื่อสาร และการสอบถามข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ เป็นต้น [2]   ที่มา: [1] สวทช. [2] ICT Law Center

  • ISP (Internet Service Provider)

    Internet service provider (ISP) หรือ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต  คือ บริษัทที่ให้ลูกค้าสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ต โดยผู้ให้บริการจะเชื่อมโยงลูกค้าเข้ากับเทคโนโลยีรับส่งข้อมูลที่เหมาะสมในการส่งผ่านอุปกรณ์โพรโทคอลอินเทอร์เน็ต เช่น Dial, DSL, เคเบิลโมเด็ม ไร้สาย หรือการเชื่อมต่อระบบไฮสปีด เป็นต้น ทั้งนี้ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตอาจให้บริการ เปิดบัญชีชื่อผู้ใช้ในอีเมล เพื่อติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นโดยรับ-ส่งผ่านเซิร์ฟเวอร์ของผู้ให้บริการ ในบางครั้งผู้ให้บริการทางอินเทอร์เน็ตอาจให้บริการเก็บไฟล์ข้อมูลระยะไกล รวมถึงเรื่องเฉพาะทางอื่น   แหล่งข้อมูลอ้างอิง: http://www.thefreedictionary.com/isp

  • กฎหมายอาญา

    หมายถึง กฎหมายที่กำหนดลักษณะของการกระทำหรือไม่กระทำอย่างใดถือว่าเป็นความผิด และกำหนดบทลงโทษทางอาญาสำหรับผู้กระทำความผิด ทั้งนี้ เพื่อเป็นรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมืองและสังคม โดยกฎหมายอาญากำหนดโทษทางอาญาสำหรับผู้กระทำความผิด แบ่งได้ ๕ ประการ (ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๘) ดังนี้ (๑) ประหารชีวิต (๒) จำคุก (๓) กักขัง (๔) ปรับ (๕) ริบทรัพย์สิน