TOP
HOME
SITEMAP
EN
TH
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
Electronic Transactions Development Agency
ETC
ETC
About ETC
History
Authority
Structure
Law/Standard
Law
Standard
About ETDA
About ETDA
ETDA Background
Vision and Obligations
Structure, Authority and Duties
Data not found.
Our service
Our service
Digital Services and Structure
Digital Service Sandbox
NRCA
Electronic certificate
Directory service
Online Certificate Check Service
TEDA
e-Document
e-Timestamping
ETDA Connect
Web Validation
e-Tax Invoice by Email
Accelerated e-Licensing
TEDA Schemas
Recommendations, Standards and Certifications
OID
e-tax Invoice & Reciept
Print out
Certification for e-Meetings
Online Consumer Protection
Contact us
Contact us
Agency Location
Organization Policies
Organization Policies
Announcement on Use of Cookies
Information Security Policy
search
Search for:
Sitemap
Sitemap Descriptions
ETC
About ETC
History
Authority
Structure
คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
History
Logo
Board of Directors
Authority
Overall Operation
Subcommittee
Law/Standard
ยุทธศาสตร์
Law
Standard
ประกาศรายชื่อหน่วยงาน
รายชื่อหน่วยงานผ่านความเห็นชอบการจัดทำนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ
รายชื่อหน่วยงานผ่านความเห็นชอบการจัดทำนโยบายและแนวปฏิบัติในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ข้อมูลข่าวสาร
News
Article
Book
Statistical Data
Documents
FAQ
การกำกับดูแล
ธุรกิจบริการ Digital ID
บริการแพลตฟอร์มดิจิทัล
About ETDA
ETDA Background
Vision and Obligations
Structure, Authority and Duties
โครงสร้าง
หน้าที่และอำนาจ
คณะกรรมการกำกับ
Structure Board of Commission
Committee Meeting
Subcommittee
Committee Meeting Plan
Executive
CIO
คณะผู้บริหาร
กฎหมาย อื่นๆ
การกำกับดูแลกิจการที่ดี
ภารกิจและหน้าที่รับผิดชอบ
ยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการ
Policies and Plans
รายงานประจำปี และรายงานงบการเงิน
Annual report
Financial Report
รายงานผลการดำเนินงาน
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ สพธอ.
คํารับรอง และรายงานผลการปฏิบัติราชการ
Performance Certification
Project Performance Report
Performance report
Performance Evaluation Report
Report of the implementation of the Anti-Corruption Action Plan
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
Human Resources Management and Development Policy
The Implementation of Human Resource Management Policies
Criteria for Human Resource Management and Development
Annual Resource Management and Development Report
ตราสัญลักษณ์
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
ทำเนียบคณะกรรมการฯ
Board of Directors
ITA ETDA
นโยบายองค์กร
การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ประกาศนโยบายความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ
แผนบริหารความเสี่ยง
Our service
Digital Services and Structure
Digital Service Sandbox
NRCA
NRCA
TEDA
Recommendations, Standards and Certifications
ข้อเสนอแนะมาตรฐาน (ETDA Recommendation)
OID
e-tax Invoice & Reciept
การรับรองระบบสารสนเทศของผู้ให้บริการนำส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (EDSP)
Print out
Certification for e-Meetings
ระบบการลงคะแนนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-voting)
กฎหมายดิจิทัล
Law
บริการข้อมูลเปิด (Open Data)
Digital Service Auditor Program
สถิติและข้อมูล
Online Consumer Protection
ADTE
Foresight Center
Digital Workforce & Literacy
ETDA Local Digital Coach (ELDC)
ETDA DIGITAL CITIZEN (EDC)
AIGC
คลังความรู้
Knowledge
Article
Internet For Better Life
International Cooperation
Internet governance
Security Tips
Law
Vocabulary
Publication
Media
Multimedia
Gallery
e-Transaction & Digtal Law
กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
กฎหมายดิจิทัลอื่น
ข่าวสารและกิจกรรม
News
Announce
Procurement
Job Announcement
CSR
Event Calendar
Contact us
Agency Location
รับเรื่องร้องเรียน
ถาม-ตอบ
แชทกับ ETDA
Organization Policies
แนวทางการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
Announcement on Use of Cookies
Information Security Policy
ประกาศเกี่ยวกับคุกกี้ (Cookie Policy)
แบบฟอร์มรับคำร้อง
ติดต่อเรา
คำถามที่พบบ่อย
หน้าหลัก
Contact
คำถามที่พบบ่อย
ICT
ICT
1
216
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transaction) กับ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce) เหมือนกันหรือไม่ อย่างไร ???
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transaction) หมายถึง กิจกรรมใด ๆ ที่กระทำขึ้นระหว่างหน่วยธุรกิจ บุคคล รัฐ ตลอดจนองค์กรเอกชนหรือองค์กรของรัฐใด ๆ เพื่อวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ การค้า และการติดต่องานราชการ โดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน ยกตัวอย่าง เช่น การซื้อ-ขายสินค้าผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต, การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์, การสมัครสมาชิกผ่านระบบออนไลน์, การตกลงทำสัญญาซื้อ-ขาย หรือสัญญาตกลงตามข้อบังคับต่างๆ บนเครือข่าย, การโอนเงินด้วยระบบอัตโนมัติผ่านระบบเครือข่าย, การสื่อสารรับ-ส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้วยเครือข่ายการสื่อสาร และการสอบถามข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ เป็นต้น แต่ e-commerce เป็นการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายที่ครอบคลุมการซื้อการขายสินค้าและบริการ โดยกระทำผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น เห็นได้ว่า ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transaction) มีขอบเขตที่กว้างกว่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-commerce)
2
56
พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ฯ กำหนดหลักเกณฑ์เรื่องลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์อย่างไร
ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 กำหนดเรื่องลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ มี 2 ประเภท คือ
1. ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ทั่วไป ตามมาตรา 9 (หลักของ ม. 9 คือ การลงลายมือชื่อต้องใช้วิธีการที่เชื่อถือได้) รองรับความเท่าเทียมกันระหว่างลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์และลายมือชื่อที่เซ็นต์กันปกติ ซึ่งเป็นหลักเปิดกว้างเพื่อรองรับวิธีการทุกประเภทที่อาจนำมาใช้ในการลงลายมือชื่อในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ โดย มาตรา 9 แบ่งส่วนประกอบ 2 ส่วน ได้แก่
ส่วนที่ 1 คือ เพื่อระบุตัวบุคคลผู้เป็นเจ้าของลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
ส่วนที่ 2 คือ การแสดงถึงความเห็นชอบของบุคคลในการรับรองข้อความที่อยู่ในรูปของข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็น “วิธีการที่เชื่อถือได้” (ดูพฤติการณ์ที่เหมาะสมในการกำหนดว่า อย่างไรคือ วิธีที่เชื่อถือได้ เช่น ความซับซ้อนของเครื่องมือ ศักยภาพของระบบ การติดต่อสื่อสาร เป็นต้น)
2. ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เชื่อถือได้ ตามมาตรา 26 เมื่อใช้เทคโนโลยีตามคุณสมบัติหรือหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด ให้ถือว่า เป็นลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เชื่อถือได้ โดย วิธีการเชื่อถือได้พิจารณาตามที่กฎหมายกำหนด เช่น เทคโนโลยีที่มีคุณสมบัติหรือลักษณะเป็นลายมือชื่อดิจิตัล (digital signature) (หมวด 2 แห่ง พ.ร.บ. ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ฯ เพื่อเสริมมาตรา 9) ดังนั้น ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ตามมาตรา 26 จึงเป็นการลงลายมือชื่อตามมาตรา 9 และสามารถใช้แทนกันได้ โดยไม่ต้องพิสูจน์ตามหลักเกณฑ์ในมาตรา 9 วรรคสอง ก. ถึง ค. อีก
3
30
สิ่งพิมพ์ออกตามประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการรับรองสิ่งพิมพ์ออก พ.ศ. 2555 คืออะไร
สิ่งพิมพ์ออกของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นเอกสารต้นฉบับ
4
29
การรับรองระบบการพิมพ์ออกตามประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการรับรองสิ่งพิมพ์ออก พ.ศ. 2555 คืออะไร
การรับรองกระบวนการในการพิมพ์เอกสาร โดยไม่ได้รับรองเนื้อหาหรือข้อความในเอกสารว่าถูกต้องแท้จริง
5
31
ประโยชน์ของการรับรองการพิมพ์ออกตามประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการรับรองสิ่งพิมพ์ออก พ.ศ.2555 คืออะไร
สามารถใช้แทนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นต้นฉบับได้
6
411
การทำกิจกรรมลุ้นของรางวัลผ่านแอพพลิเคชั่น (Application) บนมือถือเป็นการดำเนินกิจกรรม ที่ต้องมีการขออนุญาตตามกฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์หรือไม่
โดยหลักแล้วการดำเนินกิจกรรมใด ๆ โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 ได้กำหนดมาตรการหรือหลักเกณฑ์รองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้เสมอด้วยกระดาษ เพื่อให้การกระทำใด ๆ ตามที่กฎหมายบัญญัติสามารถทำในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ได้และมีผลผูกพัน ตามกฎหมาย ดังนั้น เมื่อพิจารณารูปแบบการดำเนินกิจกรรมลุ้นของรางวัลผ่านแอพพลิเคชั่นบนมือถือ อาจพิจารณาได้ว่า เป็นกิจกรรมที่ทำขึ้นกับบุคคลโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ภายใต้พระราช บัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
การพิจารณาว่ากิจกรรมดังกล่าวเป็นธุรกรรมที่ต้องขออนุญาตตามพระราช บัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 หรือไม่นั้น ผู้ให้บริการจะต้องพิจารณาว่าการดำเนินกิจกรรมของตนเป็นธุรกิจบริการเกี่ยว กับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นธุรกิจบริการที่จะต้อง มีการแจ้งให้ทราบ ขอขึ้นทะเบียน หรือขอใบอนุญาตก่อนประกอบกิจการด้วยหรือไม่ ซึ่งหลักเกณฑ์ที่กำหนดเงื่อนไขต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์กำหนดในหมวด 3 เรื่องธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภายใต้พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544
อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ที่จะต้องแจ้งให้ทราบ ต้องขึ้นทะเบียน หรือต้องได้รับใบอนุญาตก่อนประกอบธุรกิจคือ ธุรกิจบริการการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ตามที่พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการควบ คุมดูแลธุรกิจบริการการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2551 กำหนด นอกจากนี้ ผู้ให้บริการควรคำนึงถึงการปฏิบัติตามกฎหมายอื่น ๆ เช่น พระราชบัญญัติการพนัน พ.ศ. 2478 เป็นต้น ว่ากิจกรรมของตนเป็นการดำเนินกิจกรรมที่เข้าข่ายห้ามประกอบกิจการหรือต้อง ได้รับการอนุญาตตามกฎหมายก่อนหรือไม่ ซึ่งสอบถามได้จากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย