TOP

Sitemap

Sitemap Descriptions

เกี่ยวกับ สพธอ.

บริการของเรา

OUR SERVICES

บริการของเรา

กฎหมายดิจิทัล

กฎหมายดิจิทัล

KNOWLEDGE

SHARING

คลังความรู้

ETDA ชวนจับเทรนด์ Gen AI รับปี 2025 ‘ประโยชน์ โอกาส และความเสี่ยงที่ต้องเข้าใจ’ สู่สมดุลการใช้งานที่ยั่งยืน...อย่างมีธรรมาภิบาล

ถ้าให้พูดถึง “คีย์เวิร์ด” เทคโนโลยีแห่งปี 2024 คงหนีไม่พ้นเรื่องของ Generative AI หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า Gen AI ที่หลายภาคส่วนนำมาใช้ขับเคลื่อนองค์กรและช่วยทำงานในหลายๆ เรื่อง ที่สำคัญ ไม่ว่าใครก็สามารถเข้าถึงและใช้งานได้ง่ายๆ

คนทำธุรกิจต้องรู้ เปลี่ยนทุกเอกสารเป็นดิจิทัล ทำอย่างไรให้ใช้ได้จริง มีกฎหมายรองรับ

ในยุคที่ธุรกิจต้องปรับตัวเข้าสู่โลกดิจิทัล การใช้เอกสารดิจิทัล กลายเป็นส่วนสำคัญของการทำงานและธุรกรรมต่าง ๆ เพื่อตอบสนองต่อการทำธุรกรรมที่รวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนสู่เศรษฐกิจดิจิทัลที่รัฐบาลไทยมุ่งมั่นจะพัฒนา แต่การใช้เทคโนโลยีเหล่านี้อย่างปลอดภัยและเป็นที่ยอมรับในวงกว้างเป็นเรื่องที่ผู้ประกอบการต้องให้ความสำคัญ บทความนี้จะอธิบายถึงแนวทางการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เ

ปฏิทินกิจกรรม

EVENT CALENDAR

ETDA

NEWS

27 ม.ค. 68

ETDA ร่วมกับ สำนักงานสถิติแห่งชาติ นำทีมวิทยากรจากโครงการ ETDA Digital Citizen (EDC) และ ETDA Local Digital Coach (ELDC) ลุยพัฒนาทักษะด้านดิจิทัล ให้กับเจ้าหน้าที่ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ และสำนักงานสถิติจังหวัด 76 จังหวัดทั่วประเทศ รวมกว่า 240 คน

03 ม.ค. 68

Digital Empathy: เอาใจเขามาใส่ใจเราในยุคดิจิทัล แม้ไม่ได้เห็นหน้ากัน แต่ความจริงใจและความอ่อนโยนสามารถส่งผ่านข้อความได้ แค่เราเริ่มจากการ “ใส่ใจ”

13 ธ.ค. 67

ETDA (เอ็ตด้า) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เชิญชวนผู้ให้บริการแพลตฟอร์มดิจิทัลทั่วไป ที่แจ้งข้อมูลการประกอบธุรกิจและผ่านการพิจารณาเห็นชอบเรียบร้อยแล้ว เร่งดาวน์โหลดและใช้เครื่องหมายรับแจ้ง “ETDA DPS NOTIFIED” ยกระดับมาตรฐานบริการที่ผู้ใช้ทุกคนมั่นใจ โปร่งใส สามารถตรวจสอบและยืนยันตัวตนได้ ตามที่กฎหมาย DPS

ศัพท์ความรู้

คำที่ถูกค้นหามากที่สุด

  • e-Commerce

    e-Commerce (Electronic Commerce) คือ อีคอมเมิร์ซ, พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นการทำธุรกรรมซื้อขาย หรือแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการบนอินเทอร์เน็ต โดยใช้เว็บไซต์หรือแอปพลิเคชันเป็นสื่อในการนำเสนอสินค้าและบริการต่าง ๆ รวมถึงการติดต่อกันระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ทำให้ผู้เข้าใช้บริการจากทุกที่ทุกประเทศ หรือทุกมุมโลกสามารถเข้าถึงร้านค้าได้ง่ายและตลอด 24 ชั่วโมง [1]   e-Commerce เป็นส่วนหนึ่งของ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transaction) ที่ขอบเขตกว้างกว่า โดยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ธุรกรรมทางออนไลน์ หมายถึง กิจกรรมใด ๆ ที่กระทำขึ้นระหว่างหน่วยธุรกิจ บุคคล รัฐ ตลอดจนองค์กรเอกชนหรือองค์กรของรัฐใด ๆ เพื่อวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ การค้า และการติดต่องานราชการ โดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน ยกตัวอย่าง เช่น การซื้อ-ขายสินค้าผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต, การสมัครสมาชิกผ่านระบบออนไลน์, การตกลงทำสัญญาซื้อ-ขาย หรือสัญญาตกลงตามข้อบังคับต่าง ๆ บนเครือข่าย, การโอนเงินด้วยระบบอัตโนมัติผ่านระบบเครือข่าย, การสื่อสารรับ-ส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้วยเครือข่ายการสื่อสาร และการสอบถามข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ เป็นต้น [2]   ที่มา: [1] สวทช. [2] ICT Law Center

  • ISP (Internet Service Provider)

    Internet service provider (ISP) หรือ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต  คือ บริษัทที่ให้ลูกค้าสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ต โดยผู้ให้บริการจะเชื่อมโยงลูกค้าเข้ากับเทคโนโลยีรับส่งข้อมูลที่เหมาะสมในการส่งผ่านอุปกรณ์โพรโทคอลอินเทอร์เน็ต เช่น Dial, DSL, เคเบิลโมเด็ม ไร้สาย หรือการเชื่อมต่อระบบไฮสปีด เป็นต้น ทั้งนี้ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตอาจให้บริการ เปิดบัญชีชื่อผู้ใช้ในอีเมล เพื่อติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นโดยรับ-ส่งผ่านเซิร์ฟเวอร์ของผู้ให้บริการ ในบางครั้งผู้ให้บริการทางอินเทอร์เน็ตอาจให้บริการเก็บไฟล์ข้อมูลระยะไกล รวมถึงเรื่องเฉพาะทางอื่น   แหล่งข้อมูลอ้างอิง: http://www.thefreedictionary.com/isp

  • กฎหมายอาญา

    หมายถึง กฎหมายที่กำหนดลักษณะของการกระทำหรือไม่กระทำอย่างใดถือว่าเป็นความผิด และกำหนดบทลงโทษทางอาญาสำหรับผู้กระทำความผิด ทั้งนี้ เพื่อเป็นรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมืองและสังคม โดยกฎหมายอาญากำหนดโทษทางอาญาสำหรับผู้กระทำความผิด แบ่งได้ ๕ ประการ (ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๘) ดังนี้ (๑) ประหารชีวิต (๒) จำคุก (๓) กักขัง (๔) ปรับ (๕) ริบทรัพย์สิน

PARTNERS

INTERNAL