TOP

Sitemap

Sitemap Descriptions

เกี่ยวกับ สพธอ.

OUR SERVICES

บริการของเรา

กฎหมายดิจิทัล

กฎหมายดิจิทัล

เสริมทักษะคนไทยอย่างรู้เท่าทัน เพิ่มโอกาสใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ พัฒนาไปด้วยกันอย่างยั่งยืน

สถาบัน ADTE (เอดเต้) ACADEMY OF DIGITAL TRANSFORMATION BY ETDA

KNOWLEDGE

SHARING

คลังความรู้

เจาะลึกเทรนด์ AI โลก บนเวที GFEAI2025 เมื่อไทยขึ้นแท่นผู้นำจริยธรรม AI แห่งภูมิภาค

กรุงเทพมหานครถูกจับจ้องจากสายตาทั่วโลก เมื่อ The 3rd UNESCO Global Forum on the Ethics of AI 2025 (GFEAI2025) เปิดฉากเวทีระดมสมองครั้งประวัติศาสตร์ จุดประกายคำถามสำคัญที่สะท้อนความกังวลของคนทั้งโลก: “เมื่อ AI ก้าวไวกว่ากฎ แล้วจริยธรรมที่เหมาะสมอยู่ตรงไหน? และใครจะเป็นผู้กำกับทิศทาง?”…นี่ไม่ใช่

ETDA เจาะลึกทุกข้อสงสัย “e-Contract” จากลายเซ็นบนกระดาษ สู่สัญญาดิจิทัล ที่กฎหมายรองรับ

แม้พระราชบัญญัติธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์…จะมีผลบังคับใช้ในไทยมานานกว่า 20 ปี และมีบทบาทสำคัญในการวางรากฐานทางกฎหมายสำหรับการทำธุรกรรมในยุคดิจิทัล แต่ปฏิเสธไม่ได้ว่า จุดเปลี่ยนที่ทำให้เราทุกคนเริ่มหันมาทำธุรกรรมออนไลน์อย่างจริงจัง

ปฏิทินกิจกรรม

EVENT CALENDAR

ETDA

NEWS

14 ก.ค. 68

เมื่อเร็วๆ นี้ สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.) หรือ ETDA และ Paperless Trade Week 2025 ซึ่งจัดโดยคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียและแปซิฟิก (UNESCAP) ระหว่างวันที่ 9–13

09 ก.ค. 68

กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม โดย สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ETDA (เอ็ตด้า) เผยความสำเร็จมหกรรมระดับชาติด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) ครั้งยิ่งใหญ่ของไทย “Bangkok AI Week 2025” ภายใต้คอนเซปต์ AI Powered Nation: Unleashing the digital economy for all เมื่อวันที่ 23–27 มิถุนายน 2568 ที่ผ่านมา ภาครัฐ-เอกชน-ประชาชน ร่วมงานอย่างคับคั่ง ทั้งออนไซต์และออนไลน์กว่า 20,000

07 ก.ค. 68

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.) หรือ ETDA (เอ็ตด้า) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม รวมพลังพาร์ทเนอร์ เดินหน้าจัดเวทีสร้างสรรค์ไอเดีย “EDC Pitching Season 3” ประจำปี 2568 รอบไฟนอล ภายใต้แนวคิด “Digital Space Connect: เชื่อมต่อพื้นที่การเรียนรู้สู่การพัฒนาพลเมืองดิจิทัล” พร้อมเผยโฉม10 ทีมสุดท้ายร่วมชิงชัยประชันแคม

ศัพท์ความรู้

คำที่ถูกค้นหามากที่สุด

  • e-Commerce

    e-Commerce (Electronic Commerce) คือ อีคอมเมิร์ซ, พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นการทำธุรกรรมซื้อขาย หรือแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการบนอินเทอร์เน็ต โดยใช้เว็บไซต์หรือแอปพลิเคชันเป็นสื่อในการนำเสนอสินค้าและบริการต่าง ๆ รวมถึงการติดต่อกันระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ทำให้ผู้เข้าใช้บริการจากทุกที่ทุกประเทศ หรือทุกมุมโลกสามารถเข้าถึงร้านค้าได้ง่ายและตลอด 24 ชั่วโมง [1]   e-Commerce เป็นส่วนหนึ่งของ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transaction) ที่ขอบเขตกว้างกว่า โดยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ธุรกรรมทางออนไลน์ หมายถึง กิจกรรมใด ๆ ที่กระทำขึ้นระหว่างหน่วยธุรกิจ บุคคล รัฐ ตลอดจนองค์กรเอกชนหรือองค์กรของรัฐใด ๆ เพื่อวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ การค้า และการติดต่องานราชการ โดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน ยกตัวอย่าง เช่น การซื้อ-ขายสินค้าผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต, การสมัครสมาชิกผ่านระบบออนไลน์, การตกลงทำสัญญาซื้อ-ขาย หรือสัญญาตกลงตามข้อบังคับต่าง ๆ บนเครือข่าย, การโอนเงินด้วยระบบอัตโนมัติผ่านระบบเครือข่าย, การสื่อสารรับ-ส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้วยเครือข่ายการสื่อสาร และการสอบถามข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ เป็นต้น [2]   ที่มา: [1] สวทช. [2] ICT Law Center

  • ISP (Internet Service Provider)

    Internet service provider (ISP) หรือ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต  คือ บริษัทที่ให้ลูกค้าสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ต โดยผู้ให้บริการจะเชื่อมโยงลูกค้าเข้ากับเทคโนโลยีรับส่งข้อมูลที่เหมาะสมในการส่งผ่านอุปกรณ์โพรโทคอลอินเทอร์เน็ต เช่น Dial, DSL, เคเบิลโมเด็ม ไร้สาย หรือการเชื่อมต่อระบบไฮสปีด เป็นต้น ทั้งนี้ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตอาจให้บริการ เปิดบัญชีชื่อผู้ใช้ในอีเมล เพื่อติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นโดยรับ-ส่งผ่านเซิร์ฟเวอร์ของผู้ให้บริการ ในบางครั้งผู้ให้บริการทางอินเทอร์เน็ตอาจให้บริการเก็บไฟล์ข้อมูลระยะไกล รวมถึงเรื่องเฉพาะทางอื่น   แหล่งข้อมูลอ้างอิง: http://www.thefreedictionary.com/isp

  • กฎหมายอาญา

    หมายถึง กฎหมายที่กำหนดลักษณะของการกระทำหรือไม่กระทำอย่างใดถือว่าเป็นความผิด และกำหนดบทลงโทษทางอาญาสำหรับผู้กระทำความผิด ทั้งนี้ เพื่อเป็นรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมืองและสังคม โดยกฎหมายอาญากำหนดโทษทางอาญาสำหรับผู้กระทำความผิด แบ่งได้ ๕ ประการ (ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๘) ดังนี้ (๑) ประหารชีวิต (๒) จำคุก (๓) กักขัง (๔) ปรับ (๕) ริบทรัพย์สิน