Sitemap Descriptions
บทความ
เทคโนโลยีที่ก้าวหน้ามากขึ้นทุกวัน ทำให้ในปัจจุบันคนส่วนใหญ่นิยมทำธุรกรรมทางออนไลน์ ทั้งในเรื่องส่วนตัวและเรื่องทางธุรกิจ เพื่อช่วยในการลดเวลาและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ แต่เคยคิดหรือไม่ หากวันหนึ่งเกิดเรื่องที่ไม่คาดคิด เอกสารที่ส่งให้กันทางออนไลน์อาจจะกลายเป็นหลักฐานชิ้นสำคัญ แต่เอกสารทางออนไลน์แบบไหนที่ใช้เป็นพยานหลักฐานในชั้นศาลได้ มาหาคำตอบกัน
ประชุมตรวจรับกันหรือยัง ประชุมทีโออาร์กันแบบไหน ประชุมพิจารณาผลกันยังไง ถ้าใช้ e-Meeting แน่ใจมั้ยว่าทำถูกระเบียบกระทรวงการคลังและแนวทางการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของกรมบัญชีกลาง
การลงลายมือชื่อทางอิเล็กทรอนิกส์มีผลทางกฎหมายมานานแล้ว แต่... การลงลายมือชื่อนั้น มีทั้งลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ มีทั้งลายมือชื่อดิจิทัล มันเหมือนกันไหม? ถ้าไม่เหมือนกันแล้ว มันต่างกันยังไง?
ถ้ามีอุปกรณ์หรือเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์มากมายในชีวิต ทำไมเรายังต้องเซ็นบนกระดาษ
เมื่อทีม ETDA มาแชร์เรื่องความสำคัญของการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Meeting
e-Signature ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ สร้าง เซ็น สะดวก ส่งปุ๊บ ทันใจ มีผลตามกฎหมาย
พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม) แค่หมวด 1 ก็ครอบคลุมครบวงจรเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
พ.ร.บ.ธุรกรรมฯ นับเป็นกฎหมายดิจิทัลฉบับแรกของประเทศไทย ก่อนที่จะมี พ.ร.บ.อื่น ๆ ที่เข้ามาเสริมตามมา แล้วกฎหมายฉบับนี้มีขอบเขตและแนวทางการใช้อย่างไรบ้าง
รู้มั้ยว่า ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ มีผลเท่ากับ กระดาษ ใช้ได้ทางกฎหมายมานานแล้ว จะเป็นหนังสือ จะเป็นลายเซ็น จะเป็นต้นฉบับ หรือต้องเป็นพยานหลักในศาล ก็ทำเป็นอิเล็กทรอนิกส์ได้ด้วยกฎหมายฉบับนี้
ในวันที่หลายคน Work from Home เพื่อช่วยประเทศหยุดยั้งสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อโคโรนา 2019 (COVID-19) แล้วสามารถใช้โปรแกรมหรือแอปพลิเคชันเพื่อประชุมทางออนไลน์กับคนอื่น ๆ